เมนู

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
ฯลฯ ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
มหาภูตรูป 1 ฯลฯ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป
ฯลฯ มหาภูตรูป 1 ฯลฯ
[1511] 3. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
ฯลฯ ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2.

8. นิสสยปัจจัย


[1512] 1. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป 1 ฯลฯ.
สำหรับอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป 1 ฯลฯ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[1513] 2. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[1514] 3. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[1515] 4. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
นิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
2 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[1516] 5. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม
มี 1 วาระ.
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี 3 วาระ (วาระที่ 6-7-8).

[1517] 9. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปา-
ทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[1518] 10. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[1519] 11. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
นิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ขันธ์ 1 ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

9. อุปนิสสยปัจจัย


[1520] 1. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
สุขทางกาย เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย.
อุตุ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย, โภชนะ เป็นปัจจัย
แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย, สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็น
ปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[1521] 2. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกาย ให้ทาน
สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานให้เกิด ยังวิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญา
ให้เกิด ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
เข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.